Monday, 16 March 2009

History of The King Jeong Jo 22nd of Joseon [Yi San ]


History of The King Jeong Jo 22nd of Joseon [Yi San ]

กษัตริย์จองโจ (Jeongjo) ได้รับสมญานามว่าเป็นไม้บรรทัดของโชซอน เนื่องจากความพยายามต่างๆของพระองค์ในการปฏิรูปและปรับปรุงประเทศชาติและได้รับการสรรเสริญว่าเป็นกษัตริย์ที่เป็นที่รักของราษฎรมากที่สุด

พระองค์ครองราชย์ต่อจาก กษัตริย์ยองโจ (King Yeong Jo)พระอัยกา กษัตริยจองโจชื่อเดิมคือ ลีซาน (Yi San) พระโอรสขององค์รัชทายาทซาโด (Crown Prince Sado) โอรสองค์ที่สอง ของกษัตรย์ยองโจ เนื่องจากพระโอรสองค์แรกเสียชีวิตตั้งแต่เยาว์วัย หลังจากนั้นเจ็ดปี ซาโดจึงได้รับตำแหน่งรัชทายาท

ในขณะที่ซาโดเพิ่งเกิดได้ไม่นาน ซาโดได้รับการเลี้ยงดูจากกษัตริย์ยองโจเป็นอย่างดีเพื่อที่จะเป็นกษัตริย์ในอนาคต ต่อมาระหว่างกษัตริย์ยองโจและซาโดได้เกิดการระแคะระคายซึ่งกันและกัน ซาโดเริ่มมีอาการกลัวพระบิดาของตน ด้วยความกลัวนี้ทำให้ซาโดเกิดอาการทางจิต
ต้องทุบตีหรือฆ่าผู้คนเพื่อที่จะระบายความตึงเครียด การที่ซาโดทำเช่นนี้นำพาความผิดหวังมาสู่กษัตริย์ยองโจเป็นอย่างมาก ดังนั้นกษัตริย์ยองโจจึงมีรับสั่งให้ขังซาโดไว้ในยุ้งฉาง หลังจากถูกขังเป็นเวลา 8 วันซาโดก็ได้เสียชีวิต

ซึ่งในเวลานั้นลีซานมีอายุได้เพียง 11 ปี เหตุการณ์นี้ได้กระทบกระเทือนจิตใจและก่อให้เกิดความสบสนแก่ลีซาน (กษัตริย์จองโจ) เป็นอย่างมาก

สำหรับกษัตริย์ยองโจ ในคำจารึกที่สุสานได้เขียนไว้ว่าพระองค์ไม่ได้ตั้งใจที่จะฆ่าพระโอรสของพระองค์ แต่ต้องการให้บทเรียนแก่ซาโดเท่านั้นและรู้สึกเสียใจต่อการตายของซาโด ไม่ต้องการให้ผู้คนมองว่าเป็นพ่อที่ใจร้ายและทารุณ กษัตริย์ยองโจได้กล่าวอีกว่าเจ้าชายต้องฉลาด
ทุกคนต่างคาดหวังว่าเขาจะเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่สำหรับประชาชาติ แต่เขากลับไม่เรียนรู้ในสิ่งที่ดีงาม ประพฤติตนไม่เหมาะสมและคบกับพวกอันธพาล ซึ่งเป็นภัยต่อประเทศชาติ เหล่านี้คือสิ่งที่กษัตริย์ยองโจอธิบายถึงพื้นหลังการลงโทษที่ไม่เคยมีมาก่อน

หลังจากที่ซาโดตาย กษัตริย์ยองโจได้ถอดซาโดออกจากตำแหน่งและทำทุกอย่างเพื่อที่จะปกป้องลีซันพระนัดดา และ พระนางฮเย-คยอง ลูกสะใภ้

ส่วนของพระมารดาของกษัตริย์จองโจคือ พระนางฮเย-คยอง (Lady Hyekyeong) ลีซานมีจิตใจดีและเฉลี่ยวฉลาดก็เพราะพระมารดาของพระองค์ ฮเย-คยองเป็นคนที่ใจดีและเฉลี่ยวฉลาด
อีกนัยหนึ่งความเจริญทางการปกครองในสมัยของพระองค์ต้องขอบคุณความสามารถของนาง
ที่ได้ให้การศึกษาแก่ลีซัน นางได้ให้กำเนิดลีซันท่ามกลางความขัดแย้งระหว่างกษัตริย์ยองโจและซาโด มีทีท่าจะคลี่คลายลง นางรักลูกของนางมากยิ่งกว่าชีวิตและตัดสินใจที่จะไม่ให้เขาเป็นเหมือน พ่อของเขาเป็นอันขาด นางถูกปลดจากตำแหน่งหลังจากซาโดถูกประหารถึงแม้ว่าพระสวามีของนางจะถูกฆ่า แต่นางได้เงียบและมีสติเพื่อลูกชายของนางและสอนให้ลีซานไม่ให้ยึดติดกับความแค้น

นางได้เขียนอัตถชีวประวัติชื่อ The Memoirs of Lady Lady Hyekyeong ถ่ายเรื่องราวของนางในขณะนั้น ในบันทึกเล่มนี้นางได้กล่าวถึงความขัดแย้งระหว่างกษัตริย์ยองโจและพระสวามีของนาง นางได้กล่าวว่า กษัตริย์ยองโจปฏิบัติกับซาโดไม่ดีเท่าที่ควรทำให้ซาโดที่มีความอบอุ่นและอ่อนโยนโดยนิสัย ต้องตกอยู่ในสภาพถูกรบกวนทางจิต ความกลัวของซาโดค่อยๆเริ่มจากความหวาดกลัวเครื่องนุ่งห่ม ต้องเสียเวลาเป็นเวลานานในตอนเช้าเพื่อเลือกอาภรณ์จนถึงการทำร้ายบรรดาข้าหลวง บันทึกนี้นับว่าเป็นบันทึกประวัติศาสตร์ที่ประเมินค่ามิได้ บันทึกเล่มนี้ถ่ายทอดประวัติศาสตร์ทางการเมืองในสมัยโชซอน ตั้งแต่สมัยกษัตริย์ยองโจ กษัตริย์จองโจ กษัตริย์ซุนโจ (King Sunjo) ถึงแม้ว่ากษัตริย์จองโจจะประสบความทุกข์ยากตั้งแต่เยาว์วัย
ต่อมาพระองค์ก็ได้เป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโชซอน ผู้ทำให้เกิดความเฟื่องฟูความรู้ทางศิลปวัฒนธรรม

ในรัชสมัยของพระองค์ได้มีการปฏิรูปหน่วยงานต่างๆ และวางรากฐานการปกครองให้กับอาณาจักร มีการจัดตั้ง คยูจาง-คัก (Kyujang-gak) ซึ่งเป็นห้องสมุดของอาณาจักร จุดประสงค์คือปรับปรุงจุดยืนด้านวัฒนธรรมและการปกครองของโชซอนและให้เจ้าหน้าที่สนใจได้ศึกษา
นอกจากนี้ยังเป็นการลดความมั่งคั่งของคนชั้นสูงที่มีความเกี่ยวดองกับพระมเหสี อีกทั้งยังมีการสนับสนุนการเรียนของนักเรียนซีฮัก(นักเรียนโรงเรียนนักปราชญ์)

กษัตริย์จองโจได้พบกับ ฮงคุกยอง (Hong Guk- Yeong) ขุนนางที่ต้องการจะเพิ่มอำนาจให้แด่กษัตริย์ แต่กลับลงท้ายด้วยการที่เขาพยายามลอบฆ่ากษัตริย์

กษัตริย์จองโจใช้เวลาเป็นอย่างมากในการพยายามที่จะลบล้างเรื่องราวที่พระบิดาของพระองค์มีอาการป่วยทางจิต พระองค์ย้ายศาลของเมืองซูวอนโทมาไว้ใกล้กับสุสานของพระบิดาอีกทั้งพระองค์ยังสร้างปราการ ฮวาซอง (Hwaseong) ไว้พิทักษ์สุสาน ในปัจจุบันสถานที่นี้ องค์การ ยูเนสโก ประกาศให้เป็นมรดกโลก

กษัตริย์จองโจมีพระมเหสีและพระสนมรวมกัน 5 พระองค์ คือ

พระมเหสี ฮโยอุย (Queen Hyoeui)
พระสนมซอน (Royal Noble Consort Seon from the Seong clan)
พระสนม ซู (Royal Noble Consort Su from the Park clan)
พระสนม วอน (Royal Noble Consort Won from the Hong clan)
พระสนม ฮวา (Royal Noble Consort Hwa from the Yun clan)

มีพระโอรสพระธิดารวม 3 พระองค์

รัชทายาท มุนฮโย จากพระสนมซอน (Crown Prince Munhyo)
องค์ชาย ซุนโจ (Sunjo) (ต่อมาได้ขึ้นเป็นกษัตริย์สืบต่อจากกษัตริย์จองโจ)
องค์หญิง ซุกซอน (Princess Sukseon) จากพระสนมซู

King Jeong Jo 22nd of Joseon


정조 이산은 어떤 인물이었을까? : sulirang

첫번째사진은 정조대왕의 초상화이구요

두번째사진은 정조대왕께서 그리신 필국화도라는 그림입니다.

드라마 이산에서 도화서라는 곳을 다루고 있는 이유도

정조의 이런 미적감각을 보여주기 위함이 아닐까 생각하고 있습니다.

실제로도 그림에 조예가 깊으셨다고 합니다.


그리고 기록에 따르면 실제로 정조는 태평성대를 이룬 문관형의 왕이라기 보다는

무예에도 조예가 깊은 풍채좋은 인물이라 묘사되어 있습니다

무예에도 능한것은 아버지의 사도세자의 영향도 있지 않나 싶습니다.


정조대왕의 아버지인 사도세자는 영조의 후궁인 영빈이씨의 소생으로

영빈이씨가 낳은 소생들은 하나같이 인물들이 미남미녀였다고 합니다.

그러니 사도세자도 한인물했겠지요? ^^

게다가 사도세자는 똑똑하고 문무에 모두 능했다고 합니다.


나중에는 반대세력(혜경궁 홍씨 일가와 노론 정순왕후(영조의 정비) 어머니 영빈이씨)

에 의해서 죽음을 당합니다. 뭐 사도세자도 나중에는 사람을 좀 함부로 다루긴 했답니다만

아쉬운 부분일 수 밖에 없지요.

혜경궁 홍씨는 개입했다기 보다는 방관하고 아들을 살리는 걸 선택한 분이죠.

아이러니 한 건 어머니 영빈이씨가 개입한것..... 정말 이해하기 어려운 부분입니다.

영조는 아들에 대한 두려움이 결국 죽음으로 몰고 간 거라고 생각됩니다.


아무튼 11세에 효의 왕후와 혼인을 하셨습니다.

효의왕후와 부부금실이 좋으셨다네요. 어린시절부터 함께 해서 인지 동지애가 깊으셨다고 합니다.

그 밖에 후궁들 (의빈 성씨 수빈 박씨 등등은 내일 다시 자세히 올려드리겠습니다.)

과 사이도 좋으셨고 정조의 정비와 후궁들 즉 내명부는 다행히도 순탄했습니다.


세손이 왕위에 오르는 과정에서 많은 위험이 뒤따르는 대요

조선왕조 역사상 처음으로 궁궐안에 자객이 침투하는 어이없는 사건이 일어납니다.

드라마에서도 잠시나왔지만

그 자객이 침투하도록 도와준 사람은 상당부분 측근이 포함되어있었습니다.


그다음은 할아버지 영조

시도때도 없이 질문을 던지고 답을 구하게 했답니다.

아마도 아들에 대한 미안함과 손자를 아끼는 마음에서 단련을 시키신 듯했습니다.

자신도 어렵게 그 자리에 올라왔으니 어린 손자를 강하게 키우시고 싶으셨나 봅니다.


그리고 화완옹주와 정후겸 그들을 지지하는 세력들

화완옹주는 사도세자와 친형제이고 정후겸은 옹주가 양자로 들인자 입니다.

정후겸은 옹주 남편의 먼 친척이었구요. 똑똑한 정조 정확히 말하자면

정조의 오른팔이었던 홍국영과 라이벌이었죠.

하지만 정조와도 라이벌이라면 라이벌이 맞지 않나 싶습니다.

평소에 정감록(정씨가 왕이 된다는 설)가까이 했다고 합니다.

어쨌든 정조 뺨칠 정도로 똑똑하고 거만했다고 합니다. 일명 악역계의 엄친아~ㅋㅋㅋㅋㅋ

영조가 신발 질질끌지 말라고 하는 데도 시건방 떨면서 말대답하고 그냥 가버렸다는 일화가 ㅋ

옹주는 정후겸을 이용해서 권력을 가지려고 했던 것 같습니다.


하.지.만~~~~!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

정조 즉위 후 화완 옹주는 옹주라는 이름을 쓰지 못하게 되고

정씨 처라고 불리면서 살아가게 됩니다.

사사해야 마땅하지만 영조가 아꼈던 딸인지라 효심이 남달랐던 정조는 그 선에서 마무리 합니다.

물론 정후겸은 사사 당합니다. ^^

어쨌든 이렇게 사방의 적들을 물리치고 결국은 왕위에 오르시게 됩니다.
그런데 정말 이런 훈남이 존재할까 싶을 정도로 뛰어나셨습니다.
문무에 능하셨고

(어릴 때 부터 빡시게 교육받은 탓도 있지만 다른 세자도 뭐 그정도로 받아으니깐
사방이 적인 상태에서 정신병 안걸리고 똑똑한 거 보면 천재 맞음)
평생을 사방에 적으로 둘러싸여 계셨기에 자기몸은 자기가 챙길 정도로
의술에 능하셨고 (결국은 독살설에 휘말려서 돌아가시지만요.

그림과 예술에도 조예가 깊으셨고

아버지에 대한 효심 또한 깊으시고

게다가

그 시대에 패션 리더셨다는 정말 대단한 능력의 소유자!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

긴 글 읽으시느라 너무너무 수고하셨고 고마버요~^^

p.s.왜 그런 상상 많이 하잖아요.

광해군이 실정하지 않고 계속 중립정책을 폈더라면..

소현 세자가 왕위에 올랐더라면, 대원군 때 일본처럼 빨리 근대화를 서둘렀더라면 등등등등.
여러번의 기회가 왔었지만 우리나라는 다 놓쳐버렸지만요.
참혹했던 한국의 근대사를 바꿀 수 있었던 마지막 기회는 정조 때였던 거 같습니다.
한 창 근대문명의 꽃을 피울려다가

정조가 죽은 이후 조선은 그 당시 세계의 추세와 전혀 동떨어진 세도 정치로 접어들게 되니까요.
대원군 때는 이미 늦었다고 볼 수 있죠.

역사책에서는 당시 척화주전론자들이 현실을 읽지 못하는 아둔한 이들로 평가절하해 왔지만..
사실 그들은 갑자기 개화를 받아들일 경우

외국의 공산품과 조선의 문물이 전혀 경쟁이 안 된다는 걸 알고 반대했던 거니까요.

사실 개화를 반대했던 이들의 주장은 먼저 우리의 힘을 길러야 한다는 거였거든요.
이산을 보다보면 완전히 즐겁지만은 않은 게...

결국 자신의 뜻을 펼치지 못하고 죽는 정조가 안타깝고..

그의 죽음 이후 몰락의 길로 치닫는 조선의 운명이 가여워서죠.

-------------------------




정조가 원손(元孫) 시절 외숙모에게 보낸 편지. 정조는 8살에 세손(世孫)으로 책봉된다. 아이 특유의 귀여운 필체가 살아있으며 문안편지의 형식을 맞추려고 노력한 흔적이 곳곳에 묻어있다.

해석 :

가을이 깊었는데 그후 평안하신지 문안 여쭙니다. 뵈온지 오래 되어 섭섭하고 그리웠는데 어제 보내주신 편지 받아 읽어보고 든든하고 반가웠습니다. 할아버님께서도 평안하시다 하오니 기쁩니다. 원손 올림


왼쪽에 두째줄 하옵 틀려서 끄지끄린거 보세요~크크;;

송구하지만 너무 귀여우시네요~ㅠㅠ

Source : http://ksea.paran.com/swisdom/

1 comment:

  1. this drama is wonderfull .we love it here in ROMANIA .did make us look in to korean history and appreciate it.this drama is grate and the actors are very very good . we love them !
    camelia ROMANIA

    ReplyDelete